กลุ่มบริษัทฯ ได้ดำเนินการวิเคราะห์และพิจารณาระบุประเด็นที่เป็นสาระสำคัญของธุรกิจ โดยจัดลำดับความสำคัญออกเป็น 3 ระดับความสำคัญ ได้แก่

ประเด็นที่ให้ความสำคัญพิเศษ
ประเด็นที่ต้องจับตา
ประเด็นที่ต้องจับตาระวัง

การจัดลำดับนี้ช่วยให้กลุ่มบริษัทฯ สามารถวางแผนดำเนินงานได้เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ทั้งนี้ กระบวนการกำหนดประเด็นที่สำคัญได้รับการพิจารณาโดยคณะทำงานเพื่อบริหารความยั่งยืนองค์กร ซึ่งมีผู้บริหารสูงสุดเป็นประธานกรรมการ และคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามลำดับ รวมถึงมีการกำหนดเป้าหมายด้านความยั่งยืน และกำหนดตัวชี้์วัดเพื่อประเมินผลลัพธ์ระดับองค์กร และเชื่อมโยงกับการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และพนักงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นการสร้างความตระหนักความสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งกระตุ้นให้เกิดวัฒนธรรมด้านความยั่งยืนในองค์กร

ในปี 2567 มีการเปลี่ยนแปลงประเด็นที่เป็นสาระสำคัญของธุรกิจ ประกอบด้วยประเด็นใหม่ที่เพิ่มขึ้นจำนวน 7 ประเด็น ได้แก่ การควบคุมมลพิษและการรักษาสิ่งแวดล้อม การเข้าถึงพลังงานที่ยั่งยืนและเชื่อถือได้ สิทธิมนุษยชนและสภาพการทำงานที่เป็นธรรม ความยั่งยืนทางการเงินและการเข้าถึงการเงินสีเขียว ความมุ่งมั่นการตอบสนองด้านคุณภาพ และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมพลังงานทดแทน และความน่าเชื่อถือด้านพลังงาน/ประสิทธิภาพการดำเนินงาน ซึ่งสอดคล้องกับการวิเคราะห์ของ World Economic Forum: WEF ที่วิเคราะห์แนวโน้มด้านความยั่งยืนระดับโลก โดยกลุ่มบริษัทฯ ควรให้ความสำคัญ และมีผลกระทบทั้งเชิงบวกและลบต่อผู้มีส่วนได้เสีย

ประเด็นที่เป็นสาระสำคัญของธุรกิจ (Double Materiality) ปี 2567

Sustainability Materiality Assessment

สรุปการระบุประเด็นที่เป็นสาระสำคัญ ของกลุ่มบริษัทฯ แยกตามกรอบ ESG

ด้านบรรษัทภิบาลและเศรษฐกิจ

G1
ความยั่งยืนทางการเงินและการเข้าถึงการเงินสีเขียว
G2
ความมุ่งมั่นการตอบสนองด้านคุณภาพและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
G3
ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ และความวางใจของผู้มีส่วนได้เสีย
G4
พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมพลังงานทดแทน
G5
ห่วงโซ่อุปทานที่ยั่งยืนและมีความรับผิดชอบ
G6
ความน่าเชื่อถือด้านพลังงานและประสิทธิภาพการดำเนินงาน
G7
การปฏิบัติตามกฎระเบียบ มาตรฐาน จริยธรรม และการต่อต้านคอร์รัปชัน
G8
การขยายตลาดและการเติบโตอย่างยั่งยืน

ด้านสิ่งแวดล้อม

E1
การบรรเทาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความยืดหยุ่น และการลดคาร์บอน
E2
การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
E3
การจัดการของเสียและเศรษฐกิจหมุนเวียน
E4
การควบคุมมลพิษและการรักษาสิ่งแวดล้อม
E5
การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ

ด้านสังคม

การเข้าถึงพลังงานที่ยั่งยืน และเชื่อถือได้
การเสริมสร้างความสัมพันธ์และความพึงพอใจของลูกค้า
เสริมศักยภาพทุนมนุษย์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัย สุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดี
การส่งเสริมเศรษฐกิจและพัฒนาชุมชน
สิทธิมนุษยชนและสภาพการทำงานที่เป็นธรรม

การระบุ 10 ประเด็นที่เป็นสาระสำคัญหลักและให้ความสำคัญ พิเศษสำหรับธุรกิจ

ตารางนี้สามารถเลื่อนแนวนอนได้

ประเด็นสำคัญหลัก ประเด็นผลกระทบ ความสำคัญของประเด็น สนับสนุน SDGs
จากการดำเนินธุรกิจ ทางการเงิน ต่อองค์กร ต่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
  • E1 การบรรเทาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความยืดหยุ่นและการลดคาร์บอน
  • การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
  • เป้าหมายการมุ่งสู่ NET ZERO 2593
  • การปกป้องสิ่งแวด ล้อม
  • การเสริมสร้าง ความยืดหยุ่นของชุมชน
  • ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย
  • ผลกระทบต่อห่วง โซ่อุปทาน
  • ต้นทุนการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบ
  • การทำรายงาน ESG เพื่อการเข้าถึงแหล่งเงินทุนสีเขียว
  • การประหยัดต้นทุน
  • ความสามารถแข่ง ขันในตลาด
  • การบริหารความ เสี่ยง
  • การเติบโตของรายได้
  • สามารถรักษาความยั่งยืนทางธุรกิจ ลดความเสี่ยง และเข้าถึงโอกาสการลงทุนสีเขียว โดยการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เร่งพัฒนาเทคโนโลยีคาร์บอนต่ำและเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานสามารถแข่งขันในตลาด
  • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนและภาวะโลกร้อน การเกิดน้ำท่วม น้ำแล้งจากก๊าซเรือนกระจก มีผลต่อสุขภาพ และความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม
  • E2 การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
  • การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
  • การส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • ความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชน
  • ผลกระทบต่อผู้ค้า
  • ความยืดหยุ่นต่อสภาพภูมิอากาศ
  • การประหยัดต้นทุน
  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • การเข้าถึงแหล่งเงินทุนสีเขียว
  • ความยืดหยุ่นในการดำเนินงาน
  • ความได้เปรียบทางการแข่งขันการเติบโตของรายได้
  • การลดต้นทุนการดำเนินงาน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเสริมสร้างความมั่นคงด้าน พลังงานในระยะยาว โดยการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และนํ้า
  • การบริหารจัดการนํ้า โดยเฉพาะ ในพื้นที่ขาดแคลนน้ำ เพื่อให้มีนํ้า เพียงพอ ไม่สร้างผลกระทบต่อชุมชน
SDG 12
  • E5 การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
  • การปกป้องถิ่นที่อยู่อาศัย
  • ความยืดหยุ่นต่อสภาพภูมิอากาศ
  • การอนุรักษ์ทรัพยากร
  • การสร้างรายได้ของชุมชน
  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • ความต่อเนื่องในการดำเนินงาน
  • การเข้าถึงเงินทุนสีเขียว
  • ชื่อเสียงและคุณค่าแบรนด์ การหลีกเลี่ยงต้นทุนระยะยาว
  • การรักษาสมดุลทางสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติตามกฎระเบียบ และ การดำเนินงานอย่างยั่งยืน โดยการอนุรักษ์ถิ่นอาศัยตาม ธรรมชาติและลดผลกระทบต่อระบบนิเวศ
  • การสร้างความเสียหายต่อระบบ ชีวภาพ เช่น การตัดไม้ทำลายป่า ระหว่างการก่อสร้าง การปล่อย มลพิษระหว่างทํางาน
SDG 15
  • S1 การเข้าถึงพลังงานที่ยั่งยืนและเชื่อถือได้
  • การเข้าถึงพลังงาน
  • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
  • คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  • ระบบพลังงานที่ยืดหยุ่น
  • การเติบโตของรายได้
  • แรงจูงใจจากภาครัฐ
  • การเพิ่มประสิทธิภาพต้นทุน
  • ความเชื่อมั่นของนักลงทุน การจัดการความเสี่ยง
  • การให้ชุมชนเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า สร้างความเชื่อมั่นกับชุมชน/สังคม สร้างโอกาสการขยาย กำลังการผลิตพลังงานหมุนเวียน และเสริมสร้างเสถียรภาพของ โครงข่ายไฟฟ้า
  • ชุมชนท้องถิ่นที่ไม่สามารถเข้า ถึงไฟฟ้าได้ จะขาดโอกาสในการ พัฒนาและคุณภาพชีวิตจะต่ำกว่า มาตรฐาน ถ้ามีไฟฟ้าจะสนับสนุน การเติบโตทางเศรษฐกิจ และ ขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านสู่ พลังงานสะอาด
SDG 7
  • S3 เสริมศักยภาพทุนมนุษย์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
  • การพัฒนาพนักงาน
  • ความเป็นอยู่ที่ดีทางสังคม
  • การสร้างความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจ
  • นวัตกรรมและการแบ่งปันความรู้
  • การเพิ่มประสิทธิภาพการ ทํางาน
  • การรักษาและดึงดูดบุคลากร
  • ความยืดหยุ่นในการดำเนินงาน
  • การเพิ่มประสิทธิภาพต้นทุน ความเชื่อมั่นของนักลงทุน
  • การขับเคลื่อนนวัตกรรม เพิ่ม ประสิทธิภาพ และสร้างการเติบโต อย่างยั่งยืนในระยะยาว โดยการ ลงทุนในการพัฒนาบุคลากรและ ส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งการเรียน รู้อย่างต่อเนื่อง
  • การพัฒนาพนักงานไม่ทันต่อการเติบโตตามทิศทางธุรกิจ และเศรษฐกิจ จะทําให้การรักษา พนักงานทําได้ยาก
SDG 8
  • S7 สิทธิมนุษยชนและสภาพการทำงานที่เป็นธรรม
  • สวัสดิการพนักงาน
  • ความเท่าเทียมในสังคม
  • ผลกระทบต่อชุมชน
  • มาตรฐานในอุตสาหกรรม
  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • ชื่อเสียงและความไว้วางใจ
  • การรักษาและดึงดูดบุคลากร
  • ประสิทธิภาพการดำเนินงาน
  • การเข้าถึงเงินทุนสีเขียวและสังคม
  • การดำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม สร้างสภาพแวดล้อมการทํางาน ที่ดี และปฏิบัติตามมาตรฐาน แรงงานสากล โดยให้ความสำคัญ กับสวัสดิการพนักงาน ความ หลากหลาย และการปฏิบัติที่ เป็นธรรม
  • ความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน และความเท่าเทียมทางสังคม ด้วยการจัดการด้านสิทธิมนุษยชน ที่ท้าทายจากความหลากหลาย หรือกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียมากขึ้น ในอนาคต อาจทําให้เกิดความ เหลื่อมล้ำ และมีส่งผลกระทบ ทางลบได้
SDG 16
  • G1 ความยั่งยืนทางการเงินและการเข้าถึงการเงินสีเขียว
  • การลดคาร์บอนและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
  • ความสามารถในการผลิตพลังงานสะอาด (พลังงานแสงอาทิตย์ ลม และชีวมวล)
  • นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทน/พลังงานสีเขียว
  • เศรษฐกิจหมุนเวียนและการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
  • การมีส่วนร่วมกับชุมชนและผู้มีส่วนได้เสีย (โครงการเพื่อสังคมในพื้นที่)
  • สิทธิประโยชน์ด้านนโยบาย และกฎระเบียบ (เงินอุดหนุน คาร์บอนเครดิต)
  • ความต้องการพลังงาน ทดแทน/ หมุนเวียนในตลาด
  • ต้นทุนโครงสร้างพื้นฐานและ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน/หมุนเวียน
  • ความผันผวนของราคา พลังงานและข้อตกลงการซื้อขายไฟฟ้าระยะยาว
  • การเติบโตในระยะยาว การขยาย พลังงานหมุนเวียน และการรักษา ความสามารถในการแข่งขันใน ตลาด โดยการเข้าถึง เงินทุน ต้นทุนต่ำและปรับกลยุทธ์ทางการ เงินให้เหมาะสม เป็นเสริมสร้าง ความแข็งแกร่งทางธุรกิจและ ความเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน
  • การใช้พลังงานหมุนเวียนอย่าง แพร่หลายโดยที่ผู้ลงทุนได้รับการ สนับสนุนด้านการเงิน จะทําให้ พลังงานไฟฟ้านั้นมีต้นทุนที่ต่ำลงทำให้ชุมชน/ สังคมสามารถ เข้าถึงได้ สร้างการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจ และปรับคุณภาพชีวิต ให้ดีขึ้น
SDG 8
  • G2 ความมุ่งมั่นการตอบสนองด้านคุณภาพและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  • ความพึงพอใจของลูกค้า
  • การมีส่วนร่วมของพนักงาน
  • ความร่วมมือในห่วงโซ่อุปทาน
  • ความไว้วางใจของชุมชน
  • การรักษาลูกค้าและความภักดี
  • การซื้อซ้ำการเติบโตของรายได้
  • การเพิ่มประสิทธิภาพพัฒนาทุน
  • ชื่อเสียงของแบรนด์
  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • ยกระดับประสิทธิภาพการ ดำเนินงานขับเคลื่อนนวัตกรรม และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ มีส่วนได้เสียโดยการมุ่งเน้น การ ปรับปรุงคุณภาพและการเติบโต อย่างยืดหยุ่น
  • การรักษา และเพิ่มระดับความ พึงพอใจของลูกค้าจากการใช้ ผลิตภัณฑ์และบริการ โดยให้ตรง ตามความคาดหวัง และมีความ ปลอดภัย คงทน
SDG 9
  • G3 ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ และการไว้วางใจของผู้มีส่วนได้เสีย
  • ความไว้วางใจจากผู้มีส่วนได้เสีย
  • การมีส่วนร่วมของชุมชน
  • แบบปฏิบัติการธุรกิจที่มีจริยธรรม
  • มาตรฐานอุตสาหกรรม
  • ความเชื่อมั่นของนักลงทุน
  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • ชื่อเสียงของแบรนด์
  • ประสิทธิภาพด้านต้นทุน
  • การเข้าถึงเงินทุน
  • ยกระดับประสิทธิภาพการ ดำเนินงานขับเคลื่อนนวัตกรรม และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ มีส่วนได้เสียโดยการมุ่งเน้น การ ปรับปรุงคุณภาพและการเติบโต อย่างยืดหยุ่น
  • การรักษา และเพิ่มระดับความ พึงพอใจของลูกค้าจากการใช้ ผลิตภัณฑ์และบริการ โดยให้ตรง ตามความคาดหวัง และมีความ ปลอดภัย คงทน
SDG 16
  • G6 ความน่าเชื่อถือด้านพลังงานและประสิทธิภาพการดำเนินงาน
  • ประโยชน์ต่อชุมชน
  • การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
  • การทำงานร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย
  • ความมั่นคงด้านพลังงาน
  • ความมั่นคงของรายได้
  • การเพิ่มประสิทธิภาพต้นทุน
  • ความสามารถในการแข่งขัน ในตลาด
  • การลดความเสี่ยง
  • การเข้าถึงการลงทุน
  • สร้างเสถียรภาพในการผลิตไฟฟ้า เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร และลดต้นทุนการดำเนินงาน โดย การยกระดับประสิทธิภาพของ ระบบและเทคโนโลยี
  • ความพร้อมจ่ายไฟฟ้า ความมั่นคง เชื่อถือได้ ตลอดจนการเข้าถึง ไฟฟ้า และประสิทธิภาพของระบบ ไฟฟ้า ทําให้คนในชุมชน/ สังคม มีความมั่นใจ
SDG 9

การระบุ 7 ประเด็นที่เป็นสาระสำคัญที่ดำเนินการสำหรับธุรกิจ

ตารางนี้สามารถเลื่อนแนวนอนได้

ประเด็นสำคัญหลัก ประเด็นผลกระทบ ความสำคัญของประเด็น สนับสนุน SDGs
จากการดำเนินธุรกิจ ทางการเงิน ต่อองค์กร ต่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
  • S5 การส่งเสริมเศรษฐกิจและพัฒนาชุมชน
  • การเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  • ความเท่าเทียมในสังคม
  • ความยืดหยุ่นของชุมชน
  • ชื่อเสียงและคุณค่าแบรนด์
  • ใบอนุญาตในการดำเนินงาน ของสังคม
  • โอกาสทางการตลาด
  • การประหยัดต้นทุน
  • การเข้าถึงเงินทุน
  • การสร้างคุณค่าร่วม สนับสนุน การจ้างงาน และยกระดับคุณภาพ ชีวิตของสังคม และโครงการ พลังงานหมุนเวียนเสริมสร้าง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความ เจริญรุ่งเรืองของชุมชน และสร้าง ความไว้วางใจจากผู้มีส่วนได้เสีย ในระยะยาว
  • การสนับสนุนพัฒนาชุมชนใน พื้นที่โครงการ มีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น และสร้างความผูกพันที่ดี
SDG 8
  • G5 ห่วงโซ่อุปทานที่ยั่งยืนและมีความรับผิดชอบ
  • ความไว้วางใจจากผู้มีส่วนได้เสีย
  • การมีส่วนร่วมของชุมชน
  • แบบปฏิบัติการธุรกิจที่มีจริยธรรม
  • มาตรฐานอุตสาหกรรม
  • ความเชื่อมั่นของนักลงทุน
  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • ชื่อเสียงของแบรนด์
  • ประสิทธิภาพด้านต้นทุน
  • การเข้าถึงเงินทุน
  • การเติบโตของรายได้
  • สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ลด ความเสี่ยง เสริมความยืดหยุ่น ทางธุรกิจ การจัดหาทรัพยากร อย่างมีจริยธรรม และการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม โดยการส่งเสริม ความโปร่งใส แรงงานที่เป็นธรรม และการจัด ซื้อที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
  • การไม่มีคู่ค้าที่จะร่วมดำเนินธุรกิจ ระยะยาว และบริษัทในห่วงโซ่ อุปทานสร้างผลกระทบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมระยะยาว
SDG 16
  • G8 การขยายตลาดและการเติบโตอย่างยั่งยืน
  • การพัฒนากำลังแรงงาน
  • การเติบโตของชุมชน
  • นวัตกรรมและการแบ่งปันความรู้
  • ความเท่าเทียมในสังคม
  • การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
  • การรักษาและดึงดูดบุคลากร
  • ความยืดหยุ่นในการดำเนินงาน
  • การเพิ่มประสิทธิภาพพัฒนาทุน
  • ความเชื่อมั่นของนักลงทุน
  • เพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขัน ขยายการใช้พลังงาน หมุนเวียน และสร้างความสามารถ ในการทํากำไรระยะยาว โดยการ ลงทุนในนวัตกรรมพลังงาน สะอาดและความร่วมมือทาง กลยุทธ์
  • การขยายตัวของตลาดพลังงาน สะอาด พลังงานหมุนเวียน จะ ช่วยให้การเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า ได้มาก และขยายพื้นที่ครอบคลุม มากขึ้น และราคาเข้าถึงได้ เป็นการพัฒนาให้คุณภาพชีวิต ดีขึ้น
SDG 8
  • E3 การจัดการของเสียและเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • การลดของเสีย
  • การอนุรักษ์ทรัพยากร
  • ผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศ
  • คุณภาพชีวิตของชุมชน
  • ผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทาน
  • การลดต้นทุน
  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • โอกาสในการสร้างรายได้
  • การเข้าถึงเงินทุนสีเขียว
  • ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร และสนับสนุนเป้าหมายความยั่งยืน โดยการส่งเสริม การรีไซเคิล การลดของเสีย และการกำจัด อย่างรับผิดชอบ
  • การลดความเสี่ยงด้านสุขภาพที่ มีต่อชุมชนท้องถิ่นจากของเสีย และรักษาสิ่งแวดล้อมให้อยู่ใน สภาพที่ปลอดภัยจากของเสีย
SDG 12
  • G4 พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมพลังงานทดแทน
  • การบรรเทาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
  • การปล่อยก๊าซเรือนกระจกการเข้าถึงพลังงาน
  • การเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • การพัฒนาส่งเสริมเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
  • ความร่วมมือในอุตสาหกรรม
  • การเติบโตของรายได้
  • ประสิทธิภาพด้านต้นทุน
  • ความได้เปรียบทางการแข่งขัน
  • การลดความเสี่ยง
  • การเข้าถึงเงินทุนสีเขียว
  • การเพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และขับเคลื่อนการเติบโตอย่าง ยั่งยืน โดยการลงทุนในโซลูชัน พลังงานสะอาดขั้นสูงและการ เปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล สร้างความ สามารถในการแข่งขัน และการ เปลี่ยนผ่านพลังงานในระยะยาว
  • การขยายโอกาสทางธุรกิจ ด้านเทคโนโลยีพลังงาน สะอาด พลังงานทดแทน เพิ่ม ประสิทธิภาพ และเพิ่มการใช้ พลังงานทดแทนให้มากขึ้น
SDG 9
  • S4 ความปลอดภัย สุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดี
  • ความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน
  • สุขภาพของชุมชน
  • ความไว้วางใจจากผู้มีส่วนได้เสีย
  • ความเป็นผู้นำในอุตสาหกรรม
  • การลดต้นทุน
  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
  • ชื่อเสียงและความเชื่อมั่นของหลักทุน
  • การรักษาและดึงดูดบุคลากร
  • การสร้างแรงงานที่มีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยง และส่งเสริมสภาพแวดล้อมการทํางานที่ดี โดยให้ ความสําคัญกับ ความปลอดภัย ในสถานที่ทํางาน โปรแกรมส่งเสริม สุขภาพ และวัฒนธรรมความปลอดภัยที่เข้มแข็ง เพิ่มความพึงพอใจของพนักงาน ประสิทธิภาพการดำเนินงาน
  • การควบคุมดูแลสุขภาพอนามัยของพนักงานให้มีสภาวะสมบูรณ์ ดีทั้งร่างกาย จิตใจ ทํางานที่เสี่ยง เช่น ทํางานที่เสี่ยงอันตรายที่ ทำให้สุขภาพอนามัยเสื่อมโทรม การจัดสภาพแวดล้อมการทํางาน ไม่เหมาะสม ส่งผลให้พนักงาน อาจจะบาดเจ็บ และเสียชีวิต ในการทํางาน
SDG 11
  • G7 การปฏิบัติตามกฎระเบียบ มาตรฐานจริยธรรม การต่อต้านคอร์รัปชัน และความเสียหายทางการเงิน
  • ความน่าเชื่อถือในองค์กร
  • ความไว้วางใจจากผู้มีส่วนได้เสีย
  • ความเท่าเทียมในสังคม
  • ความเป็นผู้นำในอุตสาหกรรม
  • การลดความเสี่ยงจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • ความเชื่อมั่นของนักลงทุน
  • ประสิทธิภาพด้านต้นทุน
  • ชื่อเสียงในตลาด
  • การเข้าถึงเงินทุน
  • การรักษาความซื่อสัตย์ของ องค์กร ความเชื่อมั่นของนัก ลงทุน และความยั่งยืนในระยะยาว โดยการส่งเสริมความโปร่งใส ความรับผิดชอบ และการบริหาร การเงินอย่างมีความรับผิดชอบ สามารถเสริมสร้างความยืดหยุ่น ทางธุรกิจ ความไว้วางใจจาก หน่วยงานกำกับดูแล
  • การปราศจากประเด็นเรื่อง คอร์รัปชันจะสร้างความมั่นใจ และความไว้วางใจจากผู้มี ส่วนได้เสียสร้างจริยธรรมที่ดีในองค์กร สร้างเสริมความซื่อสัตย์ จนเป็นวัฒนธรรมให้กับพนักงาน
SDG 16

การระบุ 2 ประเด็นที่เป็นสาระสำคัญที่ต้องเฝ้าระวังสำหรับธุรกิจ

ตารางนี้สามารถเลื่อนแนวนอนได้

ประเด็นสำคัญหลัก ประเด็นผลกระทบ ความสำคัญของประเด็น สนับสนุน SDGs
จากการดำเนินธุรกิจ ทางการเงิน ต่อองค์กร ต่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
  • E4 การควบคุมมลพิษและการรักษาสิ่งแวดล้อม
  • การลดมลพิษ
  • การอนุรักษ์ระบบนิเวศ
  • สุขภาพชุมชน
  • การดำเนินงานที่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
  • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
  • การประหยัดต้นทุน
  • การเข้าถึงเงินทุนสีเขียว
  • คุณค่าแบรนด์และชื่อเสียง
  • ความต่อเนื่องในการดำเนินงาน
  • การลดผลกระทบต่อระบบนิเวศ การปฏิบัติตามกฎระเบียบ และ ส่งเสริมความยั่งยืน โดยการใช้ เทคโนโลยีพลังงานสะอาด และ การบริหารทรัพยากรอย่างมี ความรับผิดชอบ สามารถเสริม สร้างการดูแลสิ่งแวดล้อม ประสิทธิภาพการดำเนินงาน
  • การบริหารจัดการมลพิษทาง อากาศ ลดความเสี่ยงด้าน สุขภาพที่มีต่อชุมชนท้องถิ่น และการให้ความรู้ในการป้องกัน เช่นการใส่หน้ากากป้องกันฝุ่น PM 2.5
SDG 11
  • S2 การเสริมความสัมพันธ์และความพึงพอใจของลูกค้า
  • การเข้าถึงพลังงาน
  • คุณภาพชีวิตของลูกค้า
  • พฤติกรรมที่ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  • ความไว้วางใจและการมีส่วนร่วม
  • การเติบโตของรายได้
  • ความได้เปรียบทางการแข่งขัน
  • การเพิ่มประสิทธิภาพพัฒนาทุน
  • นวัตกรรมและคุณภาพบริการ
  • ขับเคลื่อนการเติบโตทางธุรกิจ เสริมสร้างความภักดีต่อแบรนด์ และรักษาความสามารถในการ แข่งขัน โดยการส่งมอบโซลูชัน พลังงานหมุนเวียนคุณภาพสูง และการให้บริการที่เป็นเลิศ สร้างความไว้วางใจระยะยาว การรักษาลูกค้า และความเป็นผู้นำในตลาด
  • การส่งมอบการบริการและสินค้า ที่ดีที่สุดให้ลูกค้า จากการจัดลำดับความสำคัญให้กับลูกค้าเป็นอันดับแรก (Customer Centric) และสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า โดยการรับฟังความต้องการของลูกค้าและพัฒนาการบริการให้พนักงาน อย่างเข้มข้น
SDG 9